10 เรื่องต้องรู้ก่อน 'ฝากเงิน' เมื่อ 'สถาบันคุ้มครองเงินฝาก' ลดวงเงินคุ้มครองเหลือ 1 ล้านบาท

10 เรื่องต้องรู้ก่อน 'ฝากเงิน' เมื่อ 'สถาบันคุ้มครองเงินฝาก' ลดวงเงินคุ้มครองเหลือ 1 ล้านบาท

  • 0 ตอบ
  • 80 อ่าน

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

fairya

  • *****
  • 2954
    • บุคคลทั่วไป
    • ดูรายละเอียด
  • ชื่อ-นามสกุล: -
  • เบอร์ติดต่อ/โทรศัพท์มือถือ: -
  • ที่อยู่/สถานที่ติดต่อ: -
  • ระบุจังหวัด: -
  • ดูรายละเอียด
  • ข้อความส่วนตัว (ออฟไลน์)

     
   
 




"สถาบันการเงิน" ภายใต้กฎหมาย "คุ้มครองเงินฝาก" จะได้รับความคุ้มครองเงินฝากตามกฎหมายคุ้มครองเงินฝากลดลงมาอยู่ในวงเงินไม่เกิน 1 ล้านบาท ต่อ 1 รายผู้ฝาก ต่อสถาบันการเงิน จากเดิมที่คุ้มครองในวงเงิน 5 ล้านบาท ตั้งแต่ 11 ส.ค. 64 เป็นต้นไป

มีการตั้งข้อสังเกตว่าการปรับลดการคุ้มครองเงินฝากหวยออนไลน์ในครั้งนี้ กำลังบ่งบอกว่าสถาบันการเงินกำลังสั่นคลอนหรือไม่ ทว่าตามหลักการและข้อมูลที่ปรากกฎในตอนนี้ไม่ได้เป็นเช่นนั้น

การลดการคุ้มครองเงินฝากเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้ง เมื่อเห็นควรว่าต้องมีการปรับลดการคุ้มครองเงินฝากลงตามสถานการณ์ทางการเงินของประเทศ ปัจจัยอื่นๆ ทำให้ก็มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยๆ ตามยุคสมัย

"กรุงเทพธุรกิจออนไลน์" พาไปดูการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับการฝากเงิน ที่คนที่กำลังฝากเงินในบัญชีออมทรัพย์ทั้งหลายต่อรู้ หลังจากที่มีการลดวงเงินคุ้มครองเงินฝากเหลือ 1 ล้านบาท ที่คนฝากเงินต้องรู้

 1. สถาบันคุ้มครองเงินฝาก เกี่ยวข้องกับผู้ฝากเงินอย่างไร ? 

"สถาบันคุ้มครองเงินฝาก" จะมีบทบาท เมื่อสถาบันการเงินถูกเพิกถอนใบอนุญาต โดยจะทำการจ่ายเงินคืนให้แก่ผู้ฝากเงินตามวงเงินคุ้มครองไปก่อน โดยผู้ฝากไม่ต้องรอให้กระบวนการชำระบัญชีเสร็จสิ้น

หมายความว่า เมื่อธนาคารที่ฝากเงินถูกเพิกถอนใบอนุญาต ประชาชนจะได้รับวงเงินตามเกณฑ์คุ้มครอง คืนโดยเร็ว จากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก โดยปัจจุบันจะไ้ด้รับวงเงินคืนไม่เกิน 1 ล้านจาก สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 

พูดง่ายๆ ก็คือ เมื่อธนาคารที่เราฝากเงินล้ม เนื่องจากเพิกถอนใบอนุญาต ประชาชนที่ฝากเงินจะได้รับเงินส่วนที่ฝากอยู่คืนครบทั้งหมด ตามวงเงินที่ "สถาบันคุ้มครองเงินฝาก" กำหนดนั่นเอง



 2. คุ้มครองเงินฝากสูงสุดเท่าไร ? 

ผู้ฝากเงินในสถาบันการเงินภายใต้กฎหมายคุ้มครองเงินฝาก จะได้รับความคุ้มครองเงินฝากตามกฎหมายคุ้มครองเงินฝาก ในวงเงินไม่เกิน 1 ล้านบาท ต่อ 1 รายผู้ฝาก ต่อสถาบันการเงิน ซึ่งเป็นวงเงินที่กำหนดตามกฎหมาย 

ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาตั้งแต่มีกฎหมายการคุ้มครองเงินฝากในประเทศไทย ก็มีการลดความคุ้มครองลงเรื่อยๆ จากเดิมก่อน 10 ส.ค. 2554 มีการคุ้มครองเงินฝากในบัญชีเงินฝากของผู้ฝากเงินที่เป็นเงินสกุลบาทแบบ “เต็มจำนวน” 

นับตั้งแต่วันที่ 11 ส.ค. 2554 เป็นต้นมาจนถึงวันที่ 10 ส.ค. 2555 ลดวงเงินคุ้มครองเงินฝากลงมาเหลือไม่เกิน 50 ล้านบาท

ตั้งแต่วันที่ 11 ส.ค. 2558 เป็นต้นมา ลดวงเงินคุ้มครองเงินฝากลงเหลือไม่เกิน 25 ล้านบาท และปรับลดลงมาเรื่อยๆ ดังนี้ 

11 ส.ค. 58 - 10 ส.ค. 59 วงเงินคุ้มครองเงินฝากเหลือไม่เกิน 25 ล้านบาท

11 ส.ค. 59 - 10 ส.ค. 61 วงเงินคุ้มครองเงินฝากเหลือไม่เกิน 15 ล้านบาท

11 ส.ค. 61 - 10 ส.ค. 62 วงเงินคุ้มครองเงินฝากเหลือไม่เกิน 10 ล้านบาท

11 ส.ค. 62 - 10 ส.ค. 64  วงเงินคุ้มครองเงินฝากเหลือไม่เกิน 5 ล้านบาท

11 ส.ค. 64 เป็นต้นไป วงเงินคุ้มครองเงินฝากเหลือไม่เกิน 1 ล้านบาท


 3. การคุ้มครองเงินฝาก ครอบคลุมสถาบันการเงินใดบ้าง ? 

การคุ้มครองเงินฝากโดยสถาบันคุ้มครองเงินฝาก ครอบคลุม ธนาคารพาณิชย์ไทย 18 แห่ง สาขาธนาคารต่างประเทศ 12 แห่ง บริษัทเงินทุน 2 แห่ง และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 35 แห่ง

ตรวจสอบรายชื่อสถาบันการเงินที่มีการคุ้มครองเงินฝาก คลิกที่นี่ 

 

 4. สถาบันการเงินที่ไม่อยู่ภายใต้กฎหมายคุ้มครองเงินฝาก 

สถาบันการเงินที่ไม่อยู่ภายใต้กฎหมายคุ้มครองเงินฝาก เนื่องจากมีรัฐบาลเป็นผู้คุ้มครองเงินฝากให้ หากสถาบันการเงินดังกล่าวเกิดปัญหาขึ้นรัฐบาลจะเป็นผู้ดูแลเอง ประกอบด้วย 4 ธนาคาร ได้แก่ 

- ธนาคารออมสิน

- ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

- ธนาคารอาคารสงเคราะห์

- ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ประกันโควิด เจอ จ่าย จบ! รับเลย 100,000 บาท

 5. การคุ้มครองเงินฝาก ไม่ได้คุ้มครองทุกประเภทบัญชี 



 6. ผู้ได้รับผลกระทบจากการลดความคุ้มครองเงินฝากจาก 5 ล้านเหลือ 1 ล้านบาท 


การคุ้มครองเงินฝาก ณ ทีนี้จะคุ้มครอง บัญชีเงินฝาก 5 ประเภท ได้แก่ 

1) เงินฝากกระแสรายวัน
2) เงินฝากออมทรัพย์
3) เงินฝากประจำ
4) บัตรเงินฝาก 
5) ใบรับฝากเงิน

ไม่คุ้มครองบัญชีเงินฝากบางประเภท และบัญชีอื่นๆ เช่น

- เงินฝากประเภทที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
- เงินลงทุนในตราสารต่าง ๆ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ หน่วยลงทุน (SSF, RMF)
- เงินฝากในสหกรณ์
- แคชเชียร์เช็ค ตั๋วแลกเงิน
- เงินอิเล็กทรอนิกส์ 
- ผลิตภัณฑ์ประกันประเภทออมทรัพย์ ที่ออกโดยบริษัทประกัน


 7. ผู้ที่ไม่ได้รับผลกระทบจากการลดความคุ้มครองเงินฝากจาก 5 ล้านเหลือ 1 ล้านบาท 


 8. วิธีปฏิบัติเมื่อสถาบันการเงินที่มีเงินฝากอยู่ ถูกเพิกถอนใบอนุญาต 

เมื่อกระทรวงการคลังประกาศเพิกถอนใบอนุญาตสถาบันการเงิน ผู้ฝากเงินไม่ต้องดำเนินการใด ๆ และไม่จำเป็นต้องมายื่นคำขอรับเงินแต่อย่างใด โดยสถาบันคุ้มครองเงินฝากจะทำหน้าที่จ่ายคืนเงินให้กับผู้ฝากภายใน 30 วัน ตามที่กฎหมายกำหนด 


 9. บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ที่ผูกไว้กับบัญชีกองทุนหรือประกัน ได้รับความคุ้มครองหรือไม่ ? 

บัญชีเงินฝากที่ผูกไว้กับบัญชีกองทุนหรือประกัน จะได้รับความคุ้มครองเฉพาะในส่วนของเงินฝากออมทรัพย์


 10. วิธีดูว่าสถาบันการเงินที่เราฝากเงินยังมีสุขภาพดีหรือไม่ 



ที่มา: dpa.or.th สถาบันคุ้มครองเงินฝาก ธนาคารแห่งประเทศไทย